วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่8 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ


ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความหมาย

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลก

บทที่7 การเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก

พลเมืองที่ดีของประเทศชาติและสังคมโลก

คุณลักษณะ 1. เคารพกฎหมายและปฎิบัติตามกฎระเบียบ  ข้อบังคับของสังคม
เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น หรือไม่กระทำความผิดตามที่กฎหมายกำ
หนดก็จะทำให้รัฐไม่ต้องเสียงบประมาณในการป้องกัน  ปราบปรามและจับกุมผู้ที่กระทำความผิดมาลงโทษ

บทที่6 การปกครองระบอบประชาธิปไตย

สาระสำคัญ

                ประชาธิปไตยเป็นรูปแบบการปกครองและวิธีการดำเนินชีวิต ซึ่งยึดหลักของความเสมอภาค เสรีภาพและศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ การปกครองระบอบประชาธิปไตยถือว่าทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกัน และอำนาจอธิปไตยต้องมาจากปวงชน  อ่านต่อ

บทที่5 สิทธิมนุษยชนในสังคมไทย และสังคมโลก

สิทธิมนุษยชน

        สิทธิ มนุษยชน หมายถึง สิทธิขั้นพื้นฐานที่พึงมีโดยเสมอภาคกัน เพื่อการดำรงชีวิตได้อย่าง มีศักดิ์ศรีมีโอกาสเท่าเทียมกันในการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่าง เต็มที่และสร้างสรรค์ ดังนั้นจึงเป็นสิทธิที่ได้มาพร้อมกับการเกิดและเป็นสิทธิติดตัวบุคคลนั้น ตลอดไปไม่ว่าจะอยู่ในเขตปกครองใด หรือเชื้อชาติ ภาษา ศาสนาใดๆ  อ่านต่อ

บทที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตัวเองครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง  ครอบครัว  ชุมชน  ประเทศชาติและสังคมโลก
สาระการเรียนรู้
1.   ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย
2.   กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว
3.   กำหมายแพ่งที่เกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา
4.   กฎหมายอาญา  อ่านต่อ


บทที่ 3  ความหมายและความสำคัญของวัฒนธรรม
   

ความหมายของวัฒนธรรม
          วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่มนุษย์สร้างขึ้นในแต่ละสังคม ซึ่งแต่ละสังคมจะต้องมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป
                พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามความหมายของวัฒนธรรมไว้ นัย ดังนี้
                1.สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมในการแต่งกาย เป็นต้น
                2.วิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน, วัฒนธรรมชาวเขา เป็นต้น
อ่านต่อ


บทที่ 2 สังคมของเรา

บทที่ 2 สังคมของเรา
สาระการเรียนรู้
1.โครงสร้างสังคม
  -การจัดระเบียบทางสังคม
 -สถาบันทางสังคม
2.การขัดเกลาทางสังคม
3.การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
4.การแก้ปัญหาและแนวทางการพัฒนาสังคม อ่ารต่อ

บทที่1 บทนำ

บทคัดย่อ
         รายงานเกี่ยวกับรายวิชาสังคมนี้  เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาคอมพิวเตอร์  จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์  เพื่อนำเอารูปแบบการเรียนรู้ยุคใหม่ที่ใช้สื่อสังคม  หรือ Social Mediaซึ่งเป็นชื่อที่ได้รับความสนใจและเป็นที่นิยมในปัจจุบันมาประยุกต์เข้ากับการเรียนรู้ โดยได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องสังคมของเรา  วัฒนธรรม  กฎหมาย  และสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย  รวมทั้งการเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก  ซึ่งได้รวบรวมความรู้ไว้มากมาย  ในโครงงานนี้เหมาะสมที่จะใช้พัฒนาความรู้  และเพิ่มทักษะในตนเองมากขึ้น